ปริมาณแคลเซียมและโปรตีนที่ควรได้รับต่อวันในผู้ป่วยสูงอายุที่มีปัญหาหกล้ม
สังกะสี ช่วยให้การทำงานของระบบภูมิคุ้มกันในร่างกายมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ดีผู้สูงอายุอาจมีความต้องการธาตุสังกะสีน้อยกว่าคนวัยหนุ่มสาว รวมถึงเมื่ออายุมากขึ้น การดูดซึมสังกะสีจะลดลง แหล่งอาหารที่มีสังกะสี ได้แก่ เนื้อสัตว์ อาหารทะเล ไข่
โปรตีนมีอะไรบ้าง และสำคัญต่อร่างกายอย่างไร
สูงวัย…กินอย่างไรให้สมดุล? ตอน โปรตีนกับผู้สูงอายุ
การดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม สาเหตุที่ทำให้เกิดอา...
หากผู้สูงอายุขาดโปรตีนอะไรจะเกิดขึ้น?
คาร์โบไฮเดรต เป็นสารอาหารที่ให้พลังงานกับร่างกาย ได้แก่ อาหารกลุ่มข้าว แป้ง ผู้สูงอายุควรรับประทานอาหารกลุ่มนี้ให้เพียงพอเพื่อรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสม และควรเลือกรับประทานคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น ข้าวกล้อง ขนมปังโฮลวีท ลูกเดือย
นอกจากนี้ โปรตีนยังช่วยรักษามวลกล้ามเนื้อให้แข็งแรง ป้องกันภาวะกล้ามเนื้อลีบ และซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของร่างกาย ผู้สูงอายุที่ได้รับโปรตีนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกายมักจะอ้วนได้ง่ายกว่าผู้สูงอายุที่รับประทานโปรตีนอย่างเพียงพอ เนื่องจากโปรตีนมีส่วนช่วยให้ระดับน้ำตาลในเลือดของผู้สูงอายุคงที่ ทำให้ไม่รู้สึกหิวง่าย ช่วยให้ผู้สูงอายุควบคุมการกินและควบคุมน้ำหนักได้
โปรตีนเสริมจากพืชแบบชง ทางเลือกใหม่ช่วยให้สูงวัยไม่ขาดโปรตีน
เส้นใยอาหาร ช่วยให้ระบบขับถ่ายทำงานได้ตามปกติและป้องกันปัญหาเกี่ยวกับลำไส้ที่อาจเกิดขึ้นได้ การบริโภคเส้นใยอาหารที่เหมาะสมจะช่วยป้องกันร่างกายจากโรคหัวใจ เบาหวาน และมะเร็งบางชนิด ซึ่งอาหารที่มีเส้นใยสูงมักพบได้ในผัก ผลไม้ และถั่วเปลือกแข็ง ผู้สูงอายุจึงควรรับประทานผักและผลไม้ทุกมื้ออาหารเป็นประจำ
โภชนาการผู้สูงอายุ อาหารผู้ป่วยเบาหวาน
ธัญพืช ถั่วเมล็ดแห้ง เป็นอาหารที่มีสารอาหารโปรตีนสูงเช่นกัน อีกทั้งยังมี วิตามินต่างๆ ใยอาหาร รวมถึงสารต้านอนุมูลอิสระอีกด้วย ผู้ดูแลสามารถเตรียมประเภทถั่ว แทนอาหารพวกเนื้อสัตว์ได้ในบางมื้อ เพื่อลดความจำเจของอาหาร การที่ผู้สูงอายุรับประทานอาหารชนิดเดิม ๆ ซ้ำ ๆ ไม่หลากหลาย จะทำให้เบื่ออาหารได้ง่ายขึ้น ปริมาณโปรตีนต่อวัน สำหรับผู้สูงอายุ และได้สารอาหารไม่ครบถ้วน
บันทึกชื่อ, อีเมล และชื่อเว็บไซต์ของฉันบนเบราว์เซอร์นี้ สำหรับการแสดงความเห็นครั้งถัดไป
เนื่องจากโปรตีนจากเนื้อสัตว์จะต้องใช้เวลาในการย่อยและไขมันอิ่มตัวสูง ส่งผลให้ผู้สูงอายุท้องอืด ไม่สบายท้องหรือนอนไม่หลับ โดยเฉพาะผู้สูงอายุที่มีปัญหาของโรคไขมันในเลือดและโรคความดันโลหิตสูงควรระวังการได้รับโปรตีนจากสัตว์ที่มากเกินไป และไม่ควรรับประทานโปรตีนในปริมาณมากก่อนนอน โปรตีนเสริมแบบชงดื่มรวมกับอาหารมื้อหลักจึงเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับผู้สูงอายุ